แพทย์แผนไทย โคราช รักษาโรค SLE ไขความลับวิธีรักษาโรคแพ้ภูมิตัวเองหรือโรคพุ่มพวง ( SLE)
รถตู้ให้เช่า ร้อยเอ็ด
หมอเอ ณัฐปราชญ์ คลินิก

วันที่ 3-4 มกราคม 2556 ฝนดาวตกควอตแรนท์นิดส์ Quadrantids อัตราการตก 4 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวน

 

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 จะโคจรเข้าใกล้โลกที่ระยะ 0.012AU ซึ่งใกล้กว่าระยะโคจรของดาวเทียมบางชนิด

 

วันที่ 20 มีนาคม 2556 วันวสันต์วิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 1 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

 

วันที่ 22-23 เมษายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวพิณ Lyrids อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวนหลังตี 4

 

วันที่ 25 เมษายน 2556 จันทรุปราคาบางส่วน เอกสารจากนาซา

 

วันที่ 5-7พฤษภาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวอีต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 35 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์ (1P/Halley)

 

วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 สุริยุปราคาแบบวงแหวน ไม่เห็นในประเทศไทย

 

วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เกิดจันทรุปราคาเงามัว

 

วันที่ 28 พฤษภาคม 2556 ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัส

 

วันที่ 21 มิถุนายน 2556 วันวสันตวิษุวัต เวลากลางวันยาวที่สุดในประเทศทางซีกโลกเหนือ

 

วันที่ 29-30 กรกฏาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวเดลต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 10 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 21:00 เกิดจากดาวหางมัคโฮลซ์ (96P/Machholz)

 

วันที่ 12-13 สิงหาคม 2556 ฝนดาวตกวันแม่ เพอซิอัส อัตราการตก 60 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางสวิฟต์-ทัตเทิล (109P/Swift-Tuttle)

 

วันที่ 28 สิงหาคม 2556 ดาวเนปจูนใกล้โลก

 

วันที่ 22 กันยายน 2556 วันสารทวิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 2 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

 

วันที่ 3 ตุลาคม 2556 ดาวยูเรนัสใกล้โลก

 

วันที่ 18 ตุลาคม 2556 จันทรุปราคาเงามัว

 

วันที่ 21-22 ตุลาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวนายพราน หรือ โอไรออนนิดส์ อัตราการตก 8 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์

 

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2556 สุริยุปราคาแบบไฮบริดจ์ ไม่เห็นในประเทศไทย

 

วันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวสิงโต หรือ ลีโอนิดส์ อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย

 

วันที่ 13-14 ธันวาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่คนคู่ หรือ เจมินิดส์ อัตราการตก 60-70 ดวง/ชั่วโมงในไทย เกิดจาก ดาวเคราะห์น้อย 3200 เฟทอน (3200 Phaethon) เริ่มเห็นหลังสองทุ่ม แต่เห็นมากสุดหลังตีสามครึ่ง

 

วันที่ 21 ธันวาคม 2556 วันเหมายัน กลางคืนในซีกโลกเหนือยาวที่สุด

 

ช่วงธันวาคม 2556-มกราคม 2557 จะได้เห็นดาวหางสุกสว่างที่สุดในประวัติศสตร์ (ถ้าส่วนประกอบของดาวหางเอื้ออำนวย) คือดาวหาง ISON

 

 

 

วันที่ 3-4 มกราคม 2556 ฝนดาวตกควอตแรนท์นิดส์ Quadrantids อัตราการตก 4 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวนวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 จะโคจรเข้าใกล้โลกที่ระยะ 0.012AU ซึ่งใกล้กว่าระยะโคจรของดาวเทียมบางชนิด

วันที่ 20 มีนาคม 2556 วันวสันต์วิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 1 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

 

วันที่ 22-23 เมษายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวพิณ Lyrids อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวนหลังตี 4

วันที่ 25 เมษายน 2556 จันทรุปราคาบางส่วน เอกสารจากนาซา

วันที่ 5-7พฤษภาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวอีต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 35 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์ (1P/Halley)

วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 สุริยุปราคาแบบวงแหวน ไม่เห็นในประเทศไทย 

วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เกิดจันทรุปราคาเงามัว

วันที่ 28 พฤษภาคม 2556 ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัส

วันที่ 21 มิถุนายน 2556 วันวสันตวิษุวัต เวลากลางวันยาวที่สุดในประเทศทางซีกโลกเหนือ

วันที่ 29-30 กรกฏาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวเดลต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 10 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 21:00 เกิดจากดาวหางมัคโฮลซ์ (96P/Machholz)

วันที่ 12-13 สิงหาคม 2556 ฝนดาวตกวันแม่ เพอซิอัส อัตราการตก 60 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางสวิฟต์-ทัตเทิล (109P/Swift-Tuttle)

วันที่ 28 สิงหาคม 2556 ดาวเนปจูนใกล้โลก

วันที่ 22 กันยายน 2556 วันสารทวิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 2 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

วันที่ 3 ตุลาคม 2556 ดาวยูเรนัสใกล้โลก

วันที่ 18 ตุลาคม 2556 จันทรุปราคาเงามัว

วันที่ 21-22 ตุลาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวนายพราน หรือ โอไรออนนิดส์ อัตราการตก 8 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2556 สุริยุปราคาแบบไฮบริดจ์ ไม่เห็นในประเทศไทย

วันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวสิงโต หรือ ลีโอนิดส์ อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย

วันที่ 13-14 ธันวาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่คนคู่ หรือ เจมินิดส์ อัตราการตก 60-70 ดวง/ชั่วโมงในไทย เกิดจาก ดาวเคราะห์น้อย 3200 เฟทอน (3200 Phaethon) เริ่มเห็น

หลังสองทุ่ม แต่เห็นมากสุดหลังตีสามครึ่ง

วันที่ 21 ธันวาคม 2556 วันเหมายัน กลางคืนในซีกโลกเหนือยาวที่สุด
ช่วงธันวาคม 2556-มกราคม 2557 จะได้เห็นดาวหางสุกสว่างที่สุดในประวัติศสตร์ (ถ้าส่วนประกอบของดาวหางเอื้ออำนวย) คือดาวหาง ISON

 

ข้อมูลจาก http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=khunthan&month=01-01-2013&group=2&gblog=14

Go to top